Verb + – ing = Noun |
Gerund
admit (ยอมรับ) |
anticipate (มุ่งหวัง) |
appreciate (ซาบซึ้ง) |
avoid (หลีกเลี่ยง) |
compare (เปรียบเทียบ) |
complete (ทำเสร็จ) |
confess (สารภาพ) |
consider (พิจารณา) |
delay (ทำให้ช้า) |
deny (ปฏิเสธ) |
detest (รังเกียจ) |
discuss (สนทนา) |
dislike (ไม่ชอบ) |
enjoy (สนุกสนาน) |
escape (หลบหนี) |
excuse (แก้ต่าง) |
fancy (นึกฝัน, จินตนาการ) |
finish (เสร็จ, สำเร็จ) |
forgive (ให้อภัย, ยกโทษ) |
imagine (จินตนาการ) |
involve (เกี่ยวข้อง) |
mention (กล่าวถึง) |
mind (รังเกียจ) |
miss (พลาด) |
practice (ฝึกฝน) |
postpone (เลื่อน, ผลัด) |
recognize (จำได้) |
recollect (ย้อนระลึก) |
report (รายงาน) |
resent (ขุ่นเคือง) |
resist (ต้านทาน) |
risk (เสี่ยง) |
suggest (แนะนำ) |
stand (อดทน) |
stop (หยุด) |
tolerate (อดทน) |
Do you mind picking up the phone? (คุณช่วยรับโทรศัพท์ให้หน่อยได้ไหม)
I completed filling out the form. (ฉันกรอกข้อมูลเสร็จแล้ว)
afraid of (กลัว) |
fond of (ชอบที่จะ) |
angry about / at (โกรธ) |
interested in (สนใจใน) |
bad at (ไม่ถนัด ,ไม่ดี) |
proud of (ภูมิใจกับ) |
busy (ยุ่ง) |
sick of (เบื่อที่จะ) |
clever at (ฉลาด,เก่ง) |
sorry about (เสียใจกับ) |
crazy about (บ้าคลั่ง) |
tired of (เหนื่อยใจกับ) |
disappointed about (ผิดหวังเกี่ยวกับ) |
worried about (กังวลเกี่ยวกับ) |
excited about (ตื่นเต้นเกี่ยวกับ) |
worth (มีคุณค่า,สมควรแก่) |
famous for (มีชื่อเสียงใน) |
He is busy doing his job. (เขากำลังยุ่งอยู่กับงานของเขา)
I’m crazy about reading comic books (ฉันบ้าคลั่งกับการอ่านหนังสือการ์ตูน)
about (เกี่ยวกับ) |
by (โดย) |
after (หลังจาก) |
in (ใน) |
apart from (นอกเหนือจาก) |
instead of (แทนที่จะ) |
at (ที่) |
on (บน) |
because of (เนื่องจาก) |
without (ปราศจาก) |
before (ก่อนหน้า) |
I went to the shopping mall without telling mom. (ฉันไปเดินห้างโดยไม่บอกให้แม่รู้)
accuse of |
forget about (ลืมเกี่ยวกับ) |
agree with |
give up (ล้มเลิก) |
apologize for |
have a …. (good/bad/hard/difficult/etc.) time |
approve of (เห็นด้วยกับ) |
have problem/trouble/difficulty (มีปัญหา,มีความลำบาก) |
believe in |
insist on (ยืนกราน) |
blame for |
It’s no use / It’s no good (ไม่มีประโยชน์) |
can’t bear / can’t stand (ทนไม่ได้) |
Keep / keep on (ทำต่อไป, คงไว้) |
can’t help / can’t resist (อดไม่ได้) |
put off (เลื่อน) |
carry on / go on (ทำต่อไป) |
prevent from (ป้องกัน) |
complain about (บ่น) |
rely on (วางใจ) |
concentrate on (จดจ่อ) |
succeed in (ประสบความสำเร็จใน) |
congratulate on (ยินดีกับ) |
specialize in (เชี่ยวชาญใน) |
cope with (รับมือกับ) |
stop from (หยุด) |
decide against (ตัดสินใจ) |
talk about/of (พูดคุยเกี่ยวกับ) |
depend on (ขึ้นอยู่กับ) |
think of (คิดถึง) |
dream about/of (ฝันถึง) |
warn against (เตือน) |
feel like (รู้สึกอยากจะ) |
worry about (กังวลเกี่ยวกับ) |
accustomed to (ชิน,คุ้นเคยกับ) |
object to (คัดค้านต่อ) |
confess to (สารภาพ) |
used to (ชิน,คุ้นเคยกับ) |
look forward to (ตั้งหน้าตั้งตารอคอย) |
opposed to (คัดค้านต่อ) |
Tips: โดยส่วนใหญ่แล้ว เราจะใช้ Gerund เมื่อเราต้องการพูดถึงการกระทำต่างๆ (actions)โดยอาศัยหลักการนำ Verb มาเปลี่ยนให้เป็น Noun นั่นเอง
ได้รู้เกียวกับกริยานาม
เรียนรู้การใช้คำกริยานาม
โดยส่วนใหญ่แล้ว เราจะใช้ Gerund เมื่อเราต้องการพูดถึงการกระทำต่างๆ โดยอาศัยหลักการนำ Verb มาเปลี่ยนให้เป็น Noun นั่นเอง
Nattawoot Komlai M.5/4 No.5
เข้าใจเรื่อง GERUNDหรือ กริยานาม มากขึ้นค่ะ ถือว่าเป็นความรู้เพิ่มเติมค่ะ
Nichakhan Khasom No.28 class 5/4
ได้ทราบ Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโยค
เข้าใจ Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing ขอบคุณมากคะ
ได้รู้ Preposition (บุพบท) ที่ตามด้วย Gerund
about (เกี่ยวกับ)
by (โดย)
after (หลังจาก)
in (ใน)
apart from (นอกเหนือจาก)
instead of (แทนที่จะ)
at (ที่)
on (บน)
because of (เนื่องจาก)
without (ปราศจาก)
before (ก่อนหน้า)
ครับ
ได้รู้เรื่องGerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโย
คำและประโยคอื่นๆ ที่ตามด้วย Gerund
accuse of
forget about (ลืมเกี่ยวกับ)
agree with
give up (ล้มเลิก)
apologize for
have a …. (good/bad/hard/difficult/etc.) time
approve of (เห็นด้วยกับ)
have problem/trouble/difficulty (มีปัญหา,มีความลำบาก) อื่นๆ
ค่ะ
สามารถนำความรู้เรื่อง GERUND ไปใช้ในการทำแบบฝึกหัดหรือการสอบค่ะ
Tanatchapron Phromvichai No.24 class 5/4
ได้รู็ Adjective (คุณศัพท์) ที่ตามด้วย Gerund
afraid of (กลัว)
fond of (ชอบที่จะ)
angry about / at (โกรธ)
interested in (สนใจใน)
bad at (ไม่ถนัด ,ไม่ดี)
proud of (ภูมิใจกับ) ค่ะ
ได้รู้กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโยค
ได้สาระในการเรียนรู้ในเรื่อง Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโยค
มีความรู้เพิ่มเติมเรื่อง GERUND มากขึ้นค่ะ
Kamonchut Kidtook No.22 class 5/4
เข้าใจดีค่ะ ในเรื่องGerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโยค
ทราบว่า Preposition เหล่านี้ สามารถนำไปใช้กับ Noun (คำนาม) หรือ Verb ในรูปแบบอื่นๆได้เช่นกัน
Warathep Rattanawannee No.21 Class.M.5/4
เข้าใจถึง Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing ง่ายมากขึ้น และรายละเอียดอีกมายมายเพิ่มเติมค้ะ ขอบคุณจ้าววว .. อิอิ 😛
ได้เข้าใจในเรื่องGERUND: กริยานาม
ได้รู้เรื่่องGERUND: กริยานาม
เนื้อหาละเอียดมากๆเลยคะ
Thananat Jaiyuen M.5/4 No.8
เข้าใจเรื่อง Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโยค ขอบคุณครับ
เข้าใจ Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing มากขึ้นครับ ขอบคุณครับ
ได้เข้าใจถึงความหมายหมายเหตุ Verb เหล่านี้ สามารถนำไปใช้กับ Noun (คำนาม) ได้เช่นกัน
ตัวอย่าง They admitted cheating on their test. (พวกเขายอมรับว่าโกงข้อสอบ)
ที่ทำให้เราทำข้อสอบได้
เข้าหลักการใช้ GERUND: กริยานาม มากขึ้น
Sarunya seangjan NO037 M.5/4
เข้าใจกฎการใช้ GERUND: กริยานาม มากขึ้น
Pattaraporn keawwichai No.36 m.5/4
อ่านแล้วมีความเข้าใจในการทำข้อสอบมากขึ้น
Kurisara keawjaiboon No.34 M.5/4
เข้าใจ Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโยค
ได้ดีคับ
เข้าใจวิธีการใช้ GERUND: กริยานาม เพิ่มมากขึ้น
Pornpilin somkrua NO.35 M.5/4
เข้าใจมากขึ้นค่ะ
Peerada Chatchaiyaphoom No.27 class 5/4
ได้สาระในการเรียนรู้ในเรื่อง Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยา
ได้ความรู้เพิ่มเติมที่ดีค่ะ
Jutamas Kreathi No.33 class 5/4
เข้าใจวิธีการใช้ GERUND: กริยานาม เพิ่มขึ้น
ได้รู้วิธีการใช้ GERUND: กริยานาม เพิ่มมากขึ้นและสามรถช่วยในการสอบ
เข้าใจกฎการใช้ GERUND: กริยานาม มากขึ้นครับ
ได้รู้Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโยค
เข้าใจวิธีการใช้ GERUND: กริยานาม เพิ่มมากขึ้น